เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
รหัส 5311212228 คณะศึกษาศาสตร์ เอกการศึกษาปฐมวัย กลุ่มเรียน 101 เลขที่ 24

บันทึกครั้งที่17

-อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ Tablet ใส่กระดาษที่อาจารย์เตรียมไว้ให้และให้ร่วมกันอภิปราย
-อาจารย์ได้พูดถึงเรื่องแนวการสอบ
-อาจารย์เข้าบล็อกแล้วตรวจดูแต่ละคนว่าใครยังไม่ลิงค์

บันทึกครั้งที่16

อาจารย์สอนเรื่อง
1.ให้ลิงค์แผนการเรียนใส่บล็อก
2.สมุดจด ทุกคนจำเป็นต้องมีสมุดจดเกี่ยวกับการเรียนวิชาต่างๆ
3.เกณฑ์การให้คะแนนในวิชานี้
4.ให้ทำบล็อกให้เรียบร้อย
- ลิงค์งานวิจัยที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- ลิงค์บทความที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- ลิงค์แหล่งการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- ลิงค์โทรทัศน์ครูที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
5.ใส่ขั้นตอนการทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงกาทดลองลงในบล็อกและใส่แผ่นCD มาให้อาจารย์ด้วย
6.ให้แสดงความคิดเห็น
- คิดอย่างไรกับการใช้แท็บแลตในเด็กป.1
- คิดอย่างไรถ้ารัฐบาลให้ใช้กับเด็กอนุบาล
7.วิธีการเรียนรู้ของเรา
- แผนที่ความคิด
- ลงมือปฏิบัติ
1. ในชั้นเรียน
2. สภาพจริง
- สืบค้นข้อมูลด้วยตนเอง
- เขียนบันทึก
- ระดมความคิด
- กระบวนการแก้ปัญหา
- การเป็นแบบอย่าง
1. การสาธิต
8.สอบปลายภาค 10%

บันทึกครั้งที่15

อาจารย์สอนเรื่อง

1.ความสามารถของแต่ละคน
2.ให้ทำบล็อก ตกแต่งบล็อก และทำสไลด์
3.ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงทดลองที่ไปทำให้เด็กดูที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
4.อาจารย์ให้คำติชม แนะนำเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข

บันทึกครั้งที่14

อาจารย์ให้ไปจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงทดลองวิทยาศาสตร์ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

กลุ่มของดิฉันทำเรื่อง หวานเย็นชื่นใจ
สมาชิกมีดังนี้
1.นางสาว ดวงใจ ใยบัว
2.นางสาว ธิดา ขันวิเศษ
3.นางสาวรุ่งนภา ทำจันทร์ทา
4.นางสาว อรอุมา ลาภปรากฏ
5.นางสาว มลฤดี เบิกบาน
6.นางสาว รัศมา ปริงทอง
7.นางสาว มินทร์ตรา ปิยะกาญจน์
8.นางสาว ชลวรัชต์ วลัยกวินันท์




บันทึกครั้งที่ 13

เรื่องที่อาจารย์สอนในห้องเรียน

1.ส่งงาน(บอร์ด)
2.อาจารย์ให้คำแนะนำเกี่ยวกับงาน(บอร์ด)ที่ส่ง

ส่งสมุดขั้นตอนการทำดอกไม้

4.อาจารย์ให้จับกลุ่มคิดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงทดลอง

5.อาจารย์ให้ไปดูโทรทัศน์ครู 1 เรื่อง ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ แล้วสรุป เนื้อหา กระบวนการ ขั้นตอน และประโยชน์ที่จะนำไปใช้ในวิชาชีพ

บันทึกครั้งที่12

วันนี้ไม่มีกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนเนื่องจากอาจารย์ติดภาระกิจ
แต่มอบหมายงานให้งานให้จัดบอร์ดส่งเป็นกลุ่ม

บันทึกครั้งที่11

บันทึกครั้งที่11
มีวิทยากรมาสอนเรื่องการประดิษฐ์สื่อ










บันทึกครั้งที่10

บันทึกครั้งที่10
เรื่องที่อาจารย์สอนในห้องเรียน 1 กิจกรรมวิทยาศาสตร์

บันทึกครั้งที่9

วันนี้ไม่มีกิจกรรมการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ติดภาระกิจ
* สอนชดเชยในวันเสาร์ ที่ 1 เดือนกันยายน 2555

บันทึกครั้งที่8

วันนี้ไม่มีกิจกรรมการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ติดภารกิจ
* สอนชดเชยในวันเสาร์ ที่ 25 เดือนสิงหาคม 2555


บันทึกครั้งที่ 7

วันนี้ไม่มีกิจกรรมการเรียนการสอนเนื่องจากสอบกลางภาค

บันทึกครั้งที่6

ที่อาจารย์สอนในห้องเรียน

1.แหล่งการเรียนรู้
2.การออกแบบหน่วยการเรียน
3.งานวิทยาศาสตร์
4.วิธีการทำให้เด็กได้เรียนรู้
- ดูจากของจริง
- ดูจาก VDO หรือรูปภาพ
- ไปทัศนศึกษา,หาผู้มาเล่า
* การสะท้อนกลับ (เด็กต้องเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง)
- เกม
- นิทรรศการ
- แต่งเพลง,แต่งกลอน,แต่งนิทาน
- แสดงบทบาทสมมติ
5.สั่งงาน
- เขียนแผนการสอนตามหน่วยที่ตัวเองรับผิดชอบ
- จับกลุ่ม 11 คนให้คิดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์

บันทึกครั้งที่5

-อาจารย์ให้ส่งงานที่หมอบหมายให้ไปทำ (ของเล่นเชิ่งวิทยาศาสตร์)
-อาจารย์ให้คำแนะนำและวิธีทำต่างๆให้ถูกต้องสวยงาม คงคน เหมาะสำหรับเด็ก

งานที่หมอบหมาย
-อาจารย์ให้ไปแก้ไขของเล่นในส่วนที่ไม่ถูกมาส่งในสัปดาห์ต่อไป
(ของเล่นที่ทำ รถเป่าลมหรรษา โบลิ่งกลิ้งๆๆ )


บันทึกครั้งที่4

วันนี้อาจารย์ได้เปิดวีดิโอเรื่องมหัศจรรย์ของน้ำให้นักศึกษาดูแล้ววิเคราะห์ในห้องเรียน

น้ำเป็นสสารชนิดเดียวในโลกที่ปรากฏตามธรรมชาติพร้อมกันทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ คุณสมบัติอันน่าทึ่งนี้ควบคู่ไปกับความสามารถอันใหญ่หลวงในการรับและถ่ายทอดพลังงานความร้อนของน้ำ ทำให้น้ำมีบทบาทสำคัญในการรักษาอุณหภูมิของบรรยากาศให้เหมาะสม และสร้างวงจรของน้ำขึ้นสำหรับสิ่งมีชีวิตต่างๆ
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น น้ำจะดูดซับความร้อนเข้าไปมากขึ้น จนน้ำส่วนหนึ่งกลายเป็นไอ โดยน้ำ 1 กรัม ที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส จะระเหยกลายเป็นไอได้ต้องดึงความร้อนจากสิ่งแวดล้อมไปใช้ถึง 629 แคลอรี่ ทำให้สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบๆ
เย็นลงได้ น้ำนั้นเป็นองคืประกอบสำคัญของมนุษย์เรา เมื่อคนเราเสียเหงื่อจากเหตุผลอะไรก็แล้วแต่จะทำให้ร่างกาย ของคนเรานั้น สูญเสียพลังงานในร่างกาย ทำให้เราอ่อนแรงได้ เพราะฉะนั้นคนเราจะต้องรับประทานน้ำอย่างต่ำวันละ 8 แก้ว ทดแทนการสูญเสียเหงื่อทำให้ในร่างกายมีน้ำโดยประมาณ 70 %
ในผลไม้มีน้ำอยู่ดดยประมาณ 90 %
และอูฐสามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องกินน้ำได้นานที่สุดประมาณ 10 วัน เพระอูฐนั้นสามารถเก็บไขมันที่อยู่ด้านหลังของมัน และไขมันนั้นสามารถน้ำมาเปลี่ยนแปลง เป็นน้ำหล่อเลี้ยงร่างกายของมันเอง

งานที่ได้รับมอบหมาย
-ให้นักศึกษาผลิตสื่อของเล่นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ 2 คนต่อ 2ชิ้น พร้อมวิธีทำเป็นขั้นตอน

บันทึกครั้งที่3

- อาจารย์ตรวจชิ้นงานที่สั่ง
-อาจารย์พูดถึงเรื่องพัฒนาการที่มีการเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆมีผลต่อด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ สติปัญญา ร่างกาย
-การเรียนรู้ประเมินโดยพฤติกรรมของเด็ก
*ขั้นอนุลักษณ์คือขั้นที่เด็กใช้ตามองมากกว่าการใช้เหตุผล
วิทยาศาสตร์ปฐมวัย
กระบวนการวิทยาศาสตร์
-กระบวนการเบื้องต้น
การจำแนกประเภท
การสังเกต
การวัดการสื่อความหมาย
การคำนวณ
การหาความสัมพันระหว่างมิติกับเวลา
-กระบวนการผสม
การตั้งสมมติฐาน
การกำหนดเชิงปฏิบัติการณ์
การกำหนดและควบคุมตัวแปร
การทดลอง
การตีความหมายข้อมูลและลงสรุป
วิธีการจัด
*จัดแบบเป็นทางการ
-กำหนดจุดมุ่งหมาย
-รูปแบบการสอนต่างๆ
ประกอบอาหาร
วิทยาศาสตรื
ทัศนศึกษา
*ไม่เป็นทางการ
-จัดมุมวิทยาศาสตร์
สภาพแวดล้อมที่ครูเตรียม
*จัดตามเหตุการณ์
-ธรรมชาติ
-สิ่งที่พบเห็น
วิธีการใช้สื่อ
-เลือก
-เหมาะกับหน่วย
-เหมาะกับพัฒนาการ
-เหมาะกับเวลาและสถานที่
-เหมาะกับกิจกรรม

**งานที่ได้รับมอบหมายไปดูโรงเรียนสาธิตว่าสอนหน่วยอะไรเป็นกลุ่มแล้วเขียนแผน กลุ่มที่2 ปฎิบัติวันที่23-27 กรกฏาคม 2555 หน่วยผักสดแสนอร่อย





บันทึกครั้งที่2

-อาจารย์ให้เขียนความคาดหวังว่าจะได้รับความรู้อะไร ทักษะอะไร จากวิชาการจักประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เนื้อหาที่สอน
การจัดประสบการณ์การณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางสติปัญญาแบ่งออกเป็น
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดเชิงเหตุผล-คณิตศาสตร์ -วิทยาศาสตร์
วิธีการเรียนรู้ คือ การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 กระทำกับวัตถุ- การเล่น
การจัดประสบการ
-หลักการจัดประสบการณ์
-เทคนิคการจักประสบการณ์
-กระบวนการจัดประสบการณ์
-ทฤษฎีการจัดประสบการณ์
-สื่อและสภาพแวดล้อมการจัดประสบการณ์
-การประเมินผล
วิทยาศาสตร์
-สาระสำคัญ
-เรื่องราวเกี่ยวกับตัว
-เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล สถานที่ รอบตัว
-ธรรมชาติรอบตัว
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
-รู้จักการสังเกต
-การแยกประเภท
-ทักษะการสื่อความหมาย
-ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล
-ทักษะหาพื้นที่กับพื้นที่
-ทักษะหาพื้นที่กับเวลา
-ทักษะการคำนวน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย มีดังนี้
1การสังเกต
2การจำแนกเปรียบเทียบ
3การวัด
4การสื่อสาร
5การทดลอง
6การสรุปผลและนำไปใช้

งานที่อาจารย์มอบหมายให้ไปทำ
หาพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กอายุ 3ปี (อายุอาจารย์กำหนดให้)
จับกลุ่ม4คนทำงานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เรื่องอะไรก็ได้

บันทึกครี้งที่1

อาจารย์มอบหมายงานให้ไปทำ
-ทำบล็อก
-ลิ้งค์รายชื่อเพื่อนในกลุ่มให้ครบ
ไม่มีบทความ
ไม่มีบทความ